เว็บไซต์มีการใช้งานคุกกี้ (Cookies) เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมและการตั้งค่าคุกกี้ได้ที่ นโยบายการใช้คุกกี้

นโยบายความเป็นส่วนตัว และนโยบายส่วนบุคคล
นโยบายความเป็นส่วนตัว และนโยบายส่วนบุคคล

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ และผลกระทบ

องค์ประกอบของการประเมินความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย การรับสัมผัสกับผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Exposure) และความอ่อนไหวต่อผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Sensitivity) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในลุ่มน้ำยัง (Potential impacts) และผลกระทบดังกล่าว เมื่อผนวกกับความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Adaptive capacity) จะได้ผลลัพธ์ของการประเมินความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Vulnerability) และสำหรับประชาชนในลุ่มน้ำยัง การรับสัมผัสกับผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Exposure) ประกอบด้วยปัญหาน้ำท่วม ภัยแล้ง ปริมาณน้ำฝน การบริหารจัดการน้ำและน้ำเสีย

สำหรับความอ่อนไหวต่อผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Sensitivity) ประกอบด้วยความยากจน รายได้ต่อครัวเรือน และความหนาแน่นประชากร ซึ่งเมื่อผนวกกันจะพบว่าประชาชนในลุ่มน้ำยังตอนล่างได้รับผลกระทบสูงสุด ทั้งในด้าน exposure และ sensitivity และเมื่อพิจารณาความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Adaptive capacity) ของประชาชนในลุ่มน้ำยัง ซึ่งประกอบด้วย ความสามารถในการสร้างผลผลิตทางการเกษตร (crop yields) การเข้าถึงแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค (water access) การเข้าถึงตลาด (market access) และการเข้าถึงบริการสาธารณสุข (health services access) พบว่า ขีดความสามารถในการปรับตัวของประชาชนในลุ่มน้ำยังมีไม่เพียงพอต่อผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ถือเป็นพื้นที่ที่มีความเปราะบางสูง และจำเป็นต้องเพิ่มมาตรการการปรับตัวภายใต้โครงการ EbA

การตกลงระหว่าง UNEP - DWR

องค์ประกอบของการประเมินความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย การรับสัมผัสกับผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Exposure) และความอ่อนไหวต่อผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Sensitivity) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในลุ่มน้ำยัง (Potential impacts) และผลกระทบดังกล่าว เมื่อผนวกกับความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Adaptive capacity) จะได้ผลลัพธ์ของการประเมินความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Vulnerability) และสำหรับประชาชนในลุ่มน้ำยัง การรับสัมผัสกับผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Exposure) ประกอบด้วยปัญหาน้ำท่วม ภัยแล้ง ปริมาณน้ำฝน การบริหารจัดการน้ำและน้ำเสีย

สำหรับความอ่อนไหวต่อผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Sensitivity) ประกอบด้วยความยากจน รายได้ต่อครัวเรือน และความหนาแน่นประชากร ซึ่งเมื่อผนวกกันจะพบว่าประชาชนในลุ่มน้ำยังตอนล่างได้รับผลกระทบสูงสุด ทั้งในด้าน exposure และ sensitivity และเมื่อพิจารณาความสามารถในการปรับตัวต่อผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Adaptive capacity) ของประชาชนในลุ่มน้ำยัง ซึ่งประกอบด้วย ความสามารถในการสร้างผลผลิตทางการเกษตร (crop yields) การเข้าถึงแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค (water access) การเข้าถึงตลาด (market access) และการเข้าถึงบริการสาธารณสุข (health services access) พบว่า ขีดความสามารถในการปรับตัวของประชาชนในลุ่มน้ำยังมีไม่เพียงพอต่อผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ถือเป็นพื้นที่ที่มีความเปราะบางสูง และจำเป็นต้องเพิ่มมาตรการการปรับตัวภายใต้โครงการ EbA