การขับเคลื่อนด้านสิทธิมนุษยชน
♦ รางวัลองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน ประเภทองค์กรภาครัฐ ของกรมทรัพยากรน้ำ |
องค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน ประจำปี พ.ศ. 2566 ระดับดีเด่น |
การนำเสนอต้นแบบที่ดี (Best Practiแe) "ฝายชะลอน้ำลำภาชี บ้านท่ามะขาม ชุบชีวิตชุมชน สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน" | |
โดย นายเวสารัช โสภณดิเรกรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรน้ำที่ 7 |
|
นโยบายสิทธิมนุษยชนกรมทรัพยากรน้ำ |
ถอดบทเรียนความสำเร็จในการพัฒนาองค์การสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 และการเป็นองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชนกรมทรัพยากรน้ำ | |
♦ รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ถอดบทเรียนความสำเร็จในการพัฒนาองค์การสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 และการเป็นองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชนกรมทรัพยากรน้ำ |
รายงานประเมินสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของกรมทรัพยากรน้ำ | |
♦ แนวปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกันไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนและมาตรการเยียวยาผู้เสียหายที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานขององค์กร |
แผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชนกรมทรัพยากรน้ำ | |
♦ แผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชนของกรมทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2566-2570 | |
♦ แผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชนของกรมทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2563-2565 |
ผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนด้านสิทธิมนุษยชนกรมทรัพยากรน้ำ | |
♦ คณะกรรมการกำกับ ขับเคลื่อน และติดตามการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของกรมทรัพยากรน้ำ | |
♦ คณะกรรมการกำกับ ขับเคลื่อน และติดตามการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของกรมทรัพยากรน้ำ (ยกเลิก) |
การเข้าร่วมอบรมสัมมนาด้านสิทธิมนุษยชน ของกรมทรัพยากรน้ำ |
ปี พ.ศ. 2566 ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง "สิทธิมนุษยชนในองค์กร" โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น จำนวน 218 ราย |
ปี พ.ศ. 2565 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ความเชื่อมโยงภารกิจของกรมทรัพยากรน้ำ กับมิติด้านสิทธิมนุษยชน”โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น จำนวน 201 ราย |
video clip |
|
|
ความเชื่อมโยงภารกิจของกรมทรัพยากรน้ำ กับมิติด้านสิทธิมนุษยชน |
กรมทรัพยากน้ำ ได้มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งเป็นกิจกรรม KM ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ครั้งที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2564 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น จำนวน 190 ราย |
พัฒนาเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพในการส่งเสริมคุ้มครองสิทธิมนุษยชน | |
♦ พัฒนาเว็บไซต์ www.dwr.go.th ซึ่งรองรับผู้พิการทางสายตา และรองรับการแสดงผลได้ทุกขนาดหน้าจออุปกรณ์ (Responsive) | |
♦ พัฒนา Mobile Application ที่รองรับการให้บริการและอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนและผู้รับบริการ ได้แก่ |
DWR4THAI |
BASIN4THAI |
EWS DWR | TeleDWR |
เสียงตามสายกรมทรัพยากรน้ำ | |
♦ ประชาสัมพันธ์ด้านสิทธิมนุษยชน ปี 2566 | |
♦ ประชาสัมพันธ์ด้านสิทธิมนุษยชน ปี 2565 | |
♦ ประชาสัมพันธ์ด้านสิทธิมนุษยชน ปี 2564 |
ระบบการจัดการผลกระทบที่เกิดจากการดำนินการของกรมทรัพยากรน้ำ | |
กรณีพบเห็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในกรมทรัพยากรน้ำสามารถแจ้งข้อมูล ร้องทุกข์ ร้องเรียน การละเมิดสิทธิมนุษยชนผ่านเว็บไซต์ ดังนี้ | |
กรมทรัพยากรน้ำมีการจัดทำแบบสำรวจการรับรู้และเข้าใจสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมตามคู่มือการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 |
|
♦ รายงานผลการสำรวจการรับรู้และเข้าใจสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมตามคู่มือการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 |
|
กรมทรัพยากรน้ำได้กำหนดให้มีการสำรวจประเมินความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความผูกพัน และประสบการณ์ความไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของ กรมทรัพยากรน้ำ |
|
♦ รายงานผลการสำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 |
|
กรมทรัพยากรน้ำมีการกำหนดนโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี ที่กำหนดให้ก่อนการดำเนินการโครงการทุกโครงการต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนเพื่อให้เกิดการยอมรับของประชาชนในพื้นที่ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างรอบด้าน |
|
♦ นโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี |
การดำเนินการโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ และการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานระบบน้ำดื่มให้กับกลุ่มเปราะบาง กลุ่มชาติพันธุ์ ในถิ่นทุรกันดาร |
|
|
กรมทรัพยากรน้ำ โดยสำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 1 ได้ดำเนินโครงการติดตามผลการบำรุงรักษาและตรวจสอบระบบผลิตน้ำดื่มในสถานศึกษาตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี |
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 7 ร่วมกับสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 (บ้านโป่ง) และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก ลงตรวจสอบความเหมาะสมของพื้นที่ดำเนินโครงการจัดหาน้ำต้นทุน เพื่อการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำในพื้นที่ บ้านไล่โว่, บ้านสาละวะ ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็นการปฏิบัติตามมาตรา 38 และมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า |
การให้บริการและอำนวยความสะดวกกลุ่มเปราะบาง |
Powered by Phoca Download